ประชาสัมพันธ์


ขอความกรุณาสมาชิกทุกท่านได้สร้างข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และใช้ข้อมูลที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ เท่านั้น เพื่อประโยชน์ของทางราชการและตัวสมาชิกเอง
ทางผู้ดูแลระบบขอสงวนสิทธิ์ในการลบข้อมูล ภาพ หรือไฟล์งานของท่าน หากพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่เหมาะสม ขอบคุณครับ


การสิ้นสุดการขุน


การสิ้นสุดการขุน




          
ควรขุนแค่ระยะที่โคสร้างกล้ามเนื้อเต็มที่แล้ว
(stor codition)
ซึ่งเป็นระยะที่โคกำลังจะเริ่มสะสมไขมัน

ไม่ต้องการให้ขุนโคให้อ้วนเกินไป เพราะถ้าขุนเกินระยะนี้แล้วอัตราการเจริญเติบโตจะเริ่มลดลง

ทำให้ต้นทุนการขุนสูงขึ้น
จากการศึกษาของศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ตาก


นำห้นกัสิ้นสุดของโคขุนโดยประมาณตามพันธุ์ดังนี้

 



ลูกผสมพื้นเมือง
50%
ชาร์โรเล่ส์
25%
และบราห์มัน
25%
หรือลูกผสมพื้นเมือง
50%
และชาร์โรเล่สห์
50%
สิ้นสุดที่ประมาณ
300-350
ก.ก.

 



ลูกผสมพื้นเมือง
25%
บราห์มัน
25%
ชาร์โรเล่ส์
50%
สิ้นสุดการขุนที่ประมาณ
350-400
ก.ก.

 



โคพันธุ์ตาก
1, 2
และ
3

สิ้นสุดการขุนที่ประมาณ
450
ก.ก.

          
ผู้เลี้ยงสามารถประเมินการสร้างกล้ามเนื้อจากโคมีชีวิตได้เอง

โดยดูจาก
3
จุดจาด้านท้ายโคตามภาพได้แก่

 

1)

มองจากด้านท้าย

แนวสันด้านบนที่โค้งมน แสดงว่ามีกล้ามเนื้ออยู่มากที่สุดแล้ว


ไม่ควรมองเห็นท้อง

 

2)

กระดูกขาหน้า

ควรเป็นรูปกระบอก มีกล้ามเนื้อเกาะนูน

 

3)

ท่า

ยืน

ความห่างของช่วงขาหน้า


และขาหลัง แสดงให้เห็นว่ามีกล้ามเนื้อซึ่งจะแยกขาแต่ละข้างให้ห่างจากลำตัว

 

ดีเยี่ยม

ปานกลาง

ไม่ดี


http://www.dld.go.th/service/calf/bott1.jpg



http://www.dld.go.th/service/calf/bott2.jpg



http://www.dld.go.th/service/calf/bott3.jpg


ช่วงกว้าง
แนวบนโค้งมน


ช่วงพื้นท้องกว้าง ยืนขาถ่างกว้าง
มองไม่เห็นท้อง

ไม่กว้างและโค้งมนเท่า

เห็นกระดูกเชิงกราน ช่วงขาแคบ
มองเห็นท้อง

ช่วงบนแคบเรียวยาวถึงพื้นท้อง

กระดูกเชิงกรานโปนมาก
เห็นท้องได้ชัดเชน


          

หรืออาจใช้มือสัมผัสที่จุดสัมผัส
3
แห่ง
คือ (

1)

เหนือซี่โครง (
2)
ตามแนวสันหลังเหนือบริเวณสะโพก
(3)
จุดกระดูกหัวไหล่
โคที่สร้างกล้ามเนื้อเต็มแล้วเมื่อกดที่จุดดังกล่าวข้างต้นจะรู้สึกแข็ง


เมื่อโคอ้วนขึ้นจะรู้สึกนุ่มขึ้น

          
ในการดูด้วยสายตาว่าโคมีไขมันสะสมหรือไม่ ดูจากลักษณะต่างๆ

ทั้ง
3

ด้าน ดังนี้

          

ดูด้านท้าย


จะดีทีสุด ดูจากโคนหาง อัณฑะ

และซอกขา

โคที่ขุนกำลังพอดีเส้นแนวสะโพกด้านบนและซอกขาจะโค้งมน


อัณฑะจะนูนเล็กน้อย


ถ้ามีไขมันมากเส้นแนวสะโพกด้านบนจะขยายกว้างออกเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสมาก


ขึ้น

ส่วน
2

ข้างฐานโคนหางจะนูนขึ้น


ซอกขาจะอวบเต็ม

อัณฑะจะนูนมากขึ้น

โคที่ยังไม่เต็มฐานโคนหางจะโปนขึ้น


ซอกขาจะยังเหี่ยวย่นอยู่


อัณฑะยังไม่เต็ม

เมื่อโคเดินจะเห็นมัดกล้ามเนื้อต่างๆ

เคลื่อนไหวได้ชัดเจน


http://www.dld.go.th/service/calf/bott4.jpg


 

          

ด้านหน้า


ดูจากเสือร้องไห้

เสือร้องไห้เป็นจุดที่โครงกระดูกอยู่ต่ำสุดเป็ฯจุดที่กระดูกซี่โครงทั้งสอง


ข้างมาเชื่อมกัน

ที่จุดนี้จะมีกล้ามเนื้อเล็กน้อย ส่วนใหญ่เป็นไขมัน


โคที่โตพอดีเสือร้องไห้จะเต็มพอดี
และอยู่สูงเหนือเข่า


หากเสือร้องไห้เต็มแน่นจะเต็มไปด้วยไขมัน


แสดงว่าจะมีไขมันสะสมในส่วนต่างๆ
ของซากด้วย



http://www.dld.go.th/service/calf/bott5.jpg




          

ด้านข้าง


ดูจากพื้นท้อง

พื้นท้องเป็นบริเวณที่ไม่มีกล้ามเนื้อ


สันแนวพื้นท้องจากด้านหน้าควรเลาะเลียบตามแนวกระดูกซี่โครงไปจนถึงพื้นท้อง


ด้านท้ายที่เป็นรอยต่อระหว่างซี่โครงกับสะโพก


หากแนวพื้นท้องลึกต่ำลงแสดงว่ามีไขมันมาก




http://www.dld.go.th/service/calf/bott6.jpg



การแบ่งเกรดซากโค

          
เกรดคุณภาพซาก

แบ่งออกเป้น

7

เกรดตามมาตรฐาน
กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา


ดูจากไขมันแทรก
ความแน่น สีเนื้อ และลักษณะเนื้อ


 

1.

ชั้นดีเยี่ยม
(Prime)
ส่วนมากเป็นซากที่ได้จากโคอายุน้อย

 

2.

ชั้นดี
(Choice)
ระหว่าง
9-42
เดือน (
3
ปีครึ่ง)

 

3.

ชั้นกลาง
(Good)
มีไขมันแทรกปานกลางถึงสูงสุด

 

4.

ชั้นทั่วไป
(Standard)

 

5.

ชั้นตลาด
(Commercial)
ส่วนมากเป็นซากที่ได้จากโคอายุมาก

 

6.

ชั้นพื้นบ้าน
(Utility)
อายุตั้งแต่
42
เดือน เป็นต้นไป

มีไขมันแทรก

 

7.

ชั้นต่ำและต่ำมาก
(Cutter and Canner)
ต่ำสุด ถึง สูงที่สุด

 


ชิ้นส่วนที่ได้จากการชำแหละซากโคขุน

          
การชำแหละซากแบบสากลจะได้ชิ้นส่วนต่างๆ

คิดเป็นเปอร์เซนต์ซากโดยประมาณ ดังนี้

 

สะโพก

23

%

 

พื้นอก

8

%

 


http://www.dld.go.th/service/calf/images2.jpg


 

สันส่วนหน้า

9

%

 

พื้นท้อง

5

%

 

 

สันส่วนกลาง

8

%

 

อกหรือเสือร้องไห้

5

%

 

 

สันส่วนหลัง

9

%

 

แข้งหน้า

4

%

 

 

ไหล่

26

%

 

ไขมันหุ้มไต

3

%

 

 


http://www.dld.go.th/service/calf/carcass1.gif


 


ต้นทุนการเลี้ยงโคขุน

          
ต้นทุนในการเลี้ยงโคขุนส่วนใหญ่จะเป็นค่าพันธุ์และค่าอาหาร


ซึ่งคิดเป็นร้อยละ
81.63-86.55
ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด

ค่าพันธุ์โคขึ้นอยู่กับพันธุ์และขนาดของโคที่ซื้อมาขุน


ค่าอาหารขึ้นอยู่กับชนิดและปริมาณของวัตถุดิบที่นำมาผสม


ตลอดจนปริมาณการให้อาหารข้นซึ่งสอดคล้องกับระยะเวลาการขุนด้วย


 



สรุป

          
การเลี้ยงโคขุนสามารถสร้างรายได้ให้เกษตรกรและสามารถยึดเป็นอาชีพได้


แต่เกษตรกรจะต้องคำนึงถึงเรื่องตลาดเป็นปัจจัยสำคัญ


ว่า เมื่อขุนโคเสร็จแล้วจะจำหน่ายให้ใคร
ที่ไหน



เพราะโคที่ขุนได้ขนาดหรือน้ำหนักเต็มที่แล้ว


จำเป็นต้องขาย ถ้าเลี้ยงดูต่อไปจะขาดทุน
นอกจากนั้น



การเลี้ยงโคขุนยังมีปัจจัยหรือตัวแปรอีกหลายอย่างที่ทำให้เกษตรกรได้กำไรหรือขาดทุน


เช่น ราคาโคที่ซื้อมาขุน
ราคาโคที่ขายได้เมื่อขุนเสร็จแล้ว


อัตราการเจริญเติบโตของโค
ราคาอาหารข้น ราคาอาหารหยาบ


และค่าใช้จ่ายอื่นๆ
เช่น ค่าแรงงาน ค่าดอกเบี้ย


เป็นต้น
ดังนั้น ก่อนที่เกษตรกรจะตัดสินใจเลี้ยงโคขุน


ขอให้คิดถึงความพร้อมดังกล่าว หากมีข้อสงสัยหรือต้องการขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม


กรุณาติดต่อสอบถามได้ที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดที่อยู่ในท้องถิ่นของท่าน


หรือสำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี

กรมปศุสัตว์ โทร.
0-2653-4468

Powered by Drupal - Design by artinet